การคมนาคมระหว่างหมู่บ้านค่อนข้างลำบากมาก โดยเฉพาะฤดูฝน เพราะสภาพถนนส่วนใหญ่เป็นถนนดินและถนนลูกรัง เป็นภูเขาและเนินเขา ประกอบกับระยะทางแต่ละหมู่บ้านห่างไกลกัน การติดต่อประสานงานไม่ค่อยสะดวก
ถนนลูกรัง | จำนวน | 10 สาย | ||
ถนนลาดยาง | จำนวน | 4 สาย |
ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขเอกชน 1 แห่ง
จำนวนหมู่บ้านที่มีไฟฟ้าใช้ 16 หมู่บ้าน
จำนวนประชากรที่ใช้ไฟฟ้าร้อยละ 98
แหล่งธรรมชาติ
แม่น้ำป่าสักไหลผ่าน | 1 สาย | |
ล้ำน้ำ,ลำห้วย | 16 สาย | |
บึง,หนองและอื่น ๆ | 28 แห่ง |
แหล่งธรรมชาติ
ฝาย | 23 แห่ง | |
บ่อน้ำตื้น | 16 บ่อ | |
บ่อโยก | 43 บ่อ | |
ประปาหมู่บ้าน | 21 แห่ง | |
ประปาภูเขา | 7 แห่ง |
แม่น้ำป่าสักไหลผ่านพื้นที่ | 5 หมู่บ้าน | |
น้ำตก | 1 แห่ง | |
ป่าสงวน | 35,000 ไร่ |
ลูกเสือชาวบ้าน 650 คน | ไทยอาสาป้องกันชาติ 86 คน | |
กองหนุนเพื่อความมั่นคง 32 คน | อสม. 161 คน | |
อปพร. 70 คน | กลุ่มสตรีหมู่บ้านละ 15 คน | |
กลุ่มเยาวชนหมู่บ้านหมู่บ้านละ 9 คน | คณะกรรมการหมู่บ้านหมู่บ้านล 15 คน |
ก. ศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตำบล
(1) จำนวนบุคลากร จำนวน 32 คน
ตำแหน่งปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน 1 คน | ตำแหน่งหัวหน้าส่วนการคลัง จำนวน 1 คน | |
ตำแหน่งหัวหน้าส่วนโยธา จำนวน 1 คน | ตำแหน่งนายช่างไฟฟ้า จำนวน 1 คน | |
ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชี จำนวน 1 คน | ตำแหน่งเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล จำนวน 1 คน | |
ตำแหน่งช่างโยธา จำนวน 1 คน | ตำแหน่งลูกจ้างประจำ จำนวน 2 คน | |
ตำแหน่งพนักงานจ้าง จำนวน 23 คน |
ระดับการศึกษาของบุคลากร
ประถมศึกษา จำนวน 2 คน | มัธยมศึกษา/อาชีวศึกษา จำนวน 8 คน | |
อนุปริญญาตรี/ปวส. จำนวน 5 คน | ปริญญาตรี จำนวน 17 คน |
ข. ศักยภาพของชุมชนและพื้นที่
1) การรวมกลุ่มของประชาชน
อำนวยกลุ่มทุกประเภท 29 กลุ่ม แยกประเภทกลุ่มเป็น
กลุ่มอาชีพ 11 กลุ่ม | กลุ่มออมทรัพย์ 2 กลุ่ม | |
กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน 15 กลุ่ม | กลุ่มอื่นๆ 1 กลุ่ม |
2) จุดเด่นของพื้นที่ (ที่เอื้อต่อการพัฒนาตำบล)
2.1 เป็นพื้นที่สูงน้ำไม่ท่วมขัง
2.2 มีทัศนียภาพที่สวยงาม
2.3 เป็นแหล่งการเกษตรพืชไร่และไม้ผลที่ได้ผลผลิตที่ดี
2.4 เป็นแหล่งทรัพยากรสัตว์น้ำ
2.5 แม่น้ำป่าสักไหลผ่าน